เกิดความผิดปกติของเนื้อเยื่อหุ้มฟัน
ในกรณีที่ตัวฟันขึ้นได้อย่างสมบูรณ์และไม่มีอาการอื่นๆ คนไข้อาจคิดว่าสามารถที่จะปล่อยไปเลยโดยไม่ถอน แต่เราก็แนะนำให้เอาฟันคุดออกอยู่ดี เพราะตัวฟันจะอยู่บริเวณด้านในของช่องปาก ทำให้การแปรงฟันหรือดูแลรักษาทำได้ยาก ซึ่งทำให้เสี่ยงต่อฟันผุ
เพื่อป้องกันการละลายตัวของกระดูก – แรงดันจากฟันคุดที่อยู่ผิดตำแหน่งอาจทำให้กระดูกรอบรากฟันหรือรากฟันข้างเคียงถูกทำลายไป
ฟันคุดที่อยู่ลึกในกระดูก – หากฟันคุดฝังอยู่ลึกในกระดูกขากรรไกรและไม่มีแนวโน้มที่จะขึ้นมา ก็อาจไม่จำเป็นต้องผ่าตัด เพราะการผ่าอาจทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อและเสียหายต่อเส้นประสาทมากกว่า
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
ฟันคุดส่งผลต่อสุขภาพของฟันซี่อื่น กระดูก หรือเนื้อเยื่อรอบข้าง
การถอนฟันคุดและการผ่าฟันคุดมีความแตกต่างกันตรงที่ การถอนฟันคุดจะใช้ในกรณีที่ฟันคุดสามารถขึ้นมาในช่องปากได้ตามปกติและทันตแพทย์จะใช้เครื่องมือถอนฟันเพื่อดึงฟันออก และโดยทั่วไปแล้วจะไม่ต้องมีการเย็บแผล
ฟันคุดใต้เหงือกที่ตั้งตรง ซึ่งแม้ยังไม่ขึ้นแต่มีโอกาสขึ้นได้ตามปกติในเวลาต่อมา อาจใช้วิธีแก้ไขปัญหาตามอาการ เช่น ล้างทำความสะอาดเศษอาหารที่กักอยู่ใต้เหงือก เพื่อลดการอักเสบ หรือกรอมนปุ่มยอดฟันคู่สบที่กัดชนเหงือก แล้วคอยติดตามดูอาการจนฟันซี่สุดท้ายนี้ขึ้นได้ตามปกติ
ฟันคุดที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ – ในบางกรณีที่ตำแหน่งของฟันคุดอยู่ใกล้อวัยวะสำคัญ เช่น เส้นประสาท หรือมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน แพทย์อาจแนะนำให้งดการผ่าตัดเพื่อความปลอดภัย
ค้นหาแพทย์ ค้นหาโรค ค้นหายา ค้นหาสำหรับ:
ฟันคุดหรือฟันกรามซี่สุดท้าย จำเป็นต้องมีการถอน หรือผ่าออก โดยทันตแพทย์เฉพาะทางศัลยกรรมช่องปาก เพราะว่าอยู่ในลักษณะที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ตามปกติ หรือไม่ได้อยู่ในแนวที่เดียวกับฟัน ส่วนมากฟันคุดจะเกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่นตอนปลาย หรือช่วงอายุยี่สิบต้นๆ หากปล่อยฟันคุดไว้จะมีความเสี่ยงต่อภาวะต่างๆ
ข้อมูลสุขภาพ สุขภาพช่องปากและฟัน เรื่องที่เกี่ยวข้อง
ส่วนการตัดสินใจว่าจะใช้วิธีผ่า ถอน หรือสังเกตอาการโดยยังไม่ต้องผ่าฟันคุดนั้น ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า ทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของทันตแพทย์เป็นหลัก เพราะต้องดูรูปปาก ขากรรไกร ตำแหน่งของฟันคุด รวมถึงอายุของผู้ผ่าอีกครั้งเพื่อเลือกวิธีและลักษณะการผ่าให้เหมาะสมที่สุด ส่วนระหว่างนี้หากใครยังสงสัยว่าฟันคุดไม่ผ่าได้ไหม ก็ต้องดูอาการฟันคุดของตัวเองด้วยเพราะหากฟันคุดเริ่มทำให้ปวด เหงือกบวม ปากมีกลิ่น หรือฟันผุ การตัดสินใจผ่าก็เป็นทางเลือกดีที่สุดค่ะ
สุขภาพน่ารู้ พารู้จัก สละอินโด ประโยชน์ ดีๆ มากมาย ผลไม้ชนิดนี้มีต้นกำเนิดจากที่ไหน คุณค่า และประโยชน์คืออะไร ไปรู้จักเพื่อเข้าใจ และกินให้เกิดประโยชน์สูงสุดกัน